โครงการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์คู่แข่งของสินค้า
มันฝรั่งอบกรอบโรยผงปาปริก้า ตรา HANAKA
สินค้าคู่แข่ง
ข้อมูลทั่ไปเกี่ยวกับตัวสินค้า/ผลิตภัณฑ์
ชื่อสินค้า มันฝรั่งกรอบ ตรา ปาปริกา
ประเภท มันฝรั่งแปรรูป
สถานะ กรอบ
วัสดุหลัก แป้งมันฝรั่ง
สี ครีมออกเหลือง
ผู้ผลิต บริษัท อาหารยอดคุณ จำกัด
ที่อยู่/โทรศัพท์ เลขที่ 9 ถนนนิติใหม่ มีนบุรี กรุงเทพฯ
Manufactured by USEFUL FOOD CO., LTD.
Homepage www.useful-food.com
วัสดุประกอบร่วมในตัวสินค้า/ส่วนผสม
แป้งมันฝรั่ง 90%
น้ำมันปาล์ม 6%
เครื่องปรุงรส 3% (มีส่วนผสมของถั่วเหลือง และนม)
เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน 1%
น้ำหนักสุทธิ 35 กรัม
ราคา 5 บาท/ 10 บาท/ 20 บาท
รายละเอียดบนตัวบรรจุภัณฑ์
ชื่อสินค้า ภาษาไทย"มันฝรั่งกรอบ ตรา ปาปริก้า
ที่มา polkrit-arti3314.2555
|
ส่วนประกอบที่สำคัญ มี 4 ภาษา ไทย/อังกฤษ/จีน/อาหรับ
ที่มา polkrit-arti3314.2555
|
ข้อมูลโภชนาการ
ที่มา polkrit-arti3314.2555
|
คำเตือน/บาร์โค้ด/เลขทะเบียน อย.
ที่มา polkrit-arti3314.2555 |
เครื่องหมาย อย
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นส่วนราชการระดับกรม ของประเทศไทย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีหน้าที่ปกป้องและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้นต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือได้และมีความเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและสมประโยชน์
by wikipedia
เครื่องหมาย อย.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นส่วนราชการระดับกรม ของประเทศไทย สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีหน้าที่ปกป้องและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้นต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือได้และมีความเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและสมประโยชน์
เครื่องหมาย ฮาลาล
เครื่องหมายฮาลาลที่ถูกต้องตามระบบการรับรองของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง
ประเทศไทยประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักดังรูป
1. คำว่า “ฮาลาล” ภาษาอาหรับ ในสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมีพื้นหลังเป็นแถบเส้นตรงแนวดิ่ง
2. ชื่อองค์กรรับรอง - "สนง. คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย" หรือ TheCentral Islamic Committee of Thailand" หรือ เป็นภาษาอาหรับ (เป็นได้ทั้ง 3 ภาษา) ถ้าเป็น “สำนักจุฬาราชมนตรี” แสดงว่าเป็นเครื่องหมายฮาลาลที่ไม่ผ่านการตรวจรับรอง เนื่องจากทางสำนักจุฬาราชมนตรีได้มอบหน้าที่การตรวจรับรองฮาลาลแก่คณะ กรรมการกลางอิสลามตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 แล้ว
3. หมายเลขผลิตภัณฑ์ 12 หลัก ที่ได้จากการรับรองฮาลาล ถ้าเป็นตัวเลขในระบบเก่า (ซึ่งผ่านการตรวจรับรองเช่นเดียวกัน) จะใช้ลำดับที่ของบริษัท ตามด้วยปีที่เริ่มขอรับรอง "ที่ ฮ.ล. * 025/2547"
ซึ่งการที่เราจะทราบว่าเครื่องหมายฮาลาลนี้หมดอายุหรือไม่มีนั้น มีเพียงวิธีการเดียวคือ สอบถามโดยตรงจากฝ่ายกิจการฮาลาล คณะกรรมการกลางฯ
ส่วนเรื่องสีของเครื่องหมายฮาลาล ไม่ว่าจะเป็นสีอะไร ไม่มีผลใดๆ (สีเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารนั้นๆ) เช่น อาจเป็นสีขาว, เขียว หรือแดง แต่ถ้าเงื่อนไขครบสามข้อข้างต้น ถือว่าถูกต้อง
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (อังกฤษ: barcode reader) ตัวเลขของรหัสสินค้าที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของระบบสินค้าคงคลังจะมีจำนวน หลักค่อนข้างมาก เมื่อต้องการเรียกใช้หรือตรวจสอบโดยการป้อนข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์จะทำให้เกิดการผิดพลาดได้ง่าย จึงเกิดแนวคิดในการพิมพ์รหัสสินค้าออกมาเป็นแบบแท่งรหัสสีดำและขาวต่อเนื่องกันไปเรียกว่า บาร์โค้ด ซึ่งนำไปใช้พิมพ์ในรหัสสินค้าอุปโภคและบริโภคทั่วไป เพื่อสะดวกในการเช็คสินค้าคงเหลือรวมไปถึงการคิดเงินนั่นเอง เครื่องอ่านรหัสเราเรียกว่าเครื่องอ่านบาร์โค้ด มีหลายรูป เช่น แบบมีด้ามจับคล้ายปืน หรือบางแบบก็ฝังในแท่นของเครื่องเก็บเงินสดเลย พบเห็นได้ตามจุดบริการขาย (POS - Point Of Sale) ในร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป
by wikipedia
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น